วันเสาร์ที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

ครั้งที่ 4 การแบ่งประเภทของสื่อ

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 4 ประจำ วันพฤหัสบดี ที่ 8 กรกฎาคม 2553


การแบ่งประเภทของสื่อ

-ตามระดับประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้เรียนที่ได้รับจากสื่อ

แนวคิดของโฮบาน และคณะ

- ประสบการณืตรง

- ประสบการณ์รอง

- ประสบการณ์นาฏการหรือการแสดง

ประสบการณ์ตรง

- เป็นประสบการณ์ขั้นที่เป็นรูปธรรมมากที่สุดโดยการให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์โดยตรงจากของจริง สถานการณ์จริง หรือด้วยการกระทำของตนเอง เช่น การจับต้องและเห็น เป็นต้น


ประสบการณ์รอง

- เป็นการเรียนรู้โดยการให้ผู้เรียนเรียนจากสิ่งที่ใกล้เคียงความเป็นจริงที่สุด ซึ้งอาจจะเป็นของจำลองหรือสถานการณ์จำลอง


ประสบการณ์นาฏการหรือการแสดง

- เป็นบทบาทสมมุติหรือการแสดงละครเป็นการจัดประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน

การสาธิต

- เป็นการแสดงหรือเป็นการกระทำประกอบคำอธิบายเพื่อให้เห็นลำดับขั้นตอนของการกระทำนั้น

การศึกษานอกสถานที่

- เป็นการให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ต่างๆ หรือการสัมภาษณ์เหล่านั้นเป็นต้น

นิทรรศการ

- เป็นการจัดแสดงสิ่งของต่างๆ การจัดป้ายนิเทศการเพื่อให้สาระประโยชน์และความรู้แก่ผู้ชม

โทรทัศน์

- โดยใช้ทั้งโทรทัศน์เพื่อการศึกษา และโทรทัศน์เพื่อการเรียนการสอน เพื่อให้ข้อมูลความรู้แก่ผู้เรียน หรือผู้ชม หรืออยู่ในห้องเรียนหรืออยู่ทางบ้านและใช้สอนได้ทั้งวงจรปิดวงจรเปิด

ภาพยนต์

- เป็นภาพเคลื่อนไหวที่บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ทั้งภาพและเสียง


การบันทึกเสียง วิทยุ ภาพนิ่ง

- เป็นได้ทั้งรูปของแผ่นเสียงหรือเทปบันทึก

ทัศนสัญลักษณ์

- เช่น แผนที่ แผนสตถิติ หรือเครื่องหมายต่างๆ

วัจนสัญลักษณ์

- เป็นประสบการณ์ขั้นที่เป็นนามธรรมมากที่สุด ได้แก่ ตัวหนังสือในภาพเขียนและเสียงของคำพูดในภาษาพูด

ตามแนวคิดของบรูเนอร์ (Jerome s.Bruner)

- กลุ่มการกระทำ

- กลุ่มภาพ

- กลุ่มนามธรรม

แนวคิดของสมาคมเทคโนโลยี่และสื่อการศึกษาอเมริกา

- สื่อการณ์สอนประเภทวัสดุ

- สื่อการณ์สอนประเภทอุปกรณ์

- สื่อการสอนประเภทเทคนิค วิธีการ









ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น