เป็นแฟ้มสะสมผลงานในรายวิชาสื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย EAED2101
วันพฤหัสบดีที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
ครั้งที่ 7 เกมส์การศึกษา
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 7 ประจำวัน ฟฤหัสบดี ที่ 29 กรกฎาคม 2553
วันนี้ก็ไม่ค่อยได้เรียนสักเท่าไหร่ เพราะอาจารย์ไม่ค่อยว่างต้องออกไปประชุมงานเรื่องการเข้าค่าย และอาจารย์ก็ได้สั่งงานเกี่ยวกับเกมส์การศึกษา โดยให้นักศึกษาคิดเกมส์การศึกษามาคนล่ะ 1 เกมส์ โดยมีตัวอย่างจากใบงานที่แจกให้ดู และต้องส่งภายในวันเสาร์นี้ เพราะอาจารย์จะเข้ามาตรวจ
เกมส์การศึกษาของดิฉัน คือ
- เกมส์จับคู่ ตัวอักษรย่อ กับ สัตว์หรือสิ่งของที่เห็น
วันพุธที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
ครั้งที่ 6 สื่อสำหรับเด็กปฐมวัย
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 6 ประจำวันพฤหัสบดี ที่ 22 กรกฎาคม 2553
สื่อสำหรับเด็กปฐมวัย
ความสำคัญ
- ทำให้สิ่งที่เป็นนามธรรมให้เป็นรูปธรรม
- ได้รับประสบการณ์ตรง จำได้นาน
- รวดเร็ว เพลิดเพลิน เข้าใจง่าย
ลักษณะของสื่อที่ดี
- ต้องมีความปลอดภัย
- ประโยชน์ที่เด็กได้รับเหมาะสมกับความสามารถของเด็ก ความสนใจ
- ประหยัด
- ประสิทธิภาพ
หลักการการเลือกสื่อ
- คุณภาพดี
- เด็กเข้าใจง่าย
- เลือกให้เหมาะสมกับสภาพของศูนย์
- เหมาะสมกับวัย
- เหมาะสมกับเวลาที่ใช้
- เด็กได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม
- ถูกต้องตามเนื้อหา ทันสมัย
- เด็กได้คิดเป็นทำเป็น กล้าแสดงออก
การประเมินการใช้สื่อ (พิจารณาจากครูผู้ใช้สื่อ เด็กและสื่อ)
- สื่อช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้เพียงใด
- เด็กชอบสื่อชนิดนี้เพียงใด
- สื่อช่วยให้เด็กคิดตรงจุดประสงค์
สื่อสำหรับเด็กปฐมวัย
ความสำคัญ
- ทำให้สิ่งที่เป็นนามธรรมให้เป็นรูปธรรม
- ได้รับประสบการณ์ตรง จำได้นาน
- รวดเร็ว เพลิดเพลิน เข้าใจง่าย
ลักษณะของสื่อที่ดี
- ต้องมีความปลอดภัย
- ประโยชน์ที่เด็กได้รับเหมาะสมกับความสามารถของเด็ก ความสนใจ
- ประหยัด
- ประสิทธิภาพ
หลักการการเลือกสื่อ
- คุณภาพดี
- เด็กเข้าใจง่าย
- เลือกให้เหมาะสมกับสภาพของศูนย์
- เหมาะสมกับวัย
- เหมาะสมกับเวลาที่ใช้
- เด็กได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม
- ถูกต้องตามเนื้อหา ทันสมัย
- เด็กได้คิดเป็นทำเป็น กล้าแสดงออก
การประเมินการใช้สื่อ (พิจารณาจากครูผู้ใช้สื่อ เด็กและสื่อ)
- สื่อช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้เพียงใด
- เด็กชอบสื่อชนิดนี้เพียงใด
- สื่อช่วยให้เด็กคิดตรงจุดประสงค์
วันอังคารที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
ครั้งที่ 5
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 5 ประจำวัน พฤหัสบดี ที่ 15 กรกฎาคม 2553
เข้าเรียน (แต่ไม่ได้รายงานหน้าชั้นเรียน)
เข้าเรียน (แต่ไม่ได้รายงานหน้าชั้นเรียน)
วันเสาร์ที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
ครั้งที่ 4 การแบ่งประเภทของสื่อ
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 4 ประจำ วันพฤหัสบดี ที่ 8 กรกฎาคม 2553
การแบ่งประเภทของสื่อ
-ตามระดับประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้เรียนที่ได้รับจากสื่อ
แนวคิดของโฮบาน และคณะ
- ประสบการณืตรง
- ประสบการณ์รอง
- ประสบการณ์นาฏการหรือการแสดง
ประสบการณ์ตรง
- เป็นประสบการณ์ขั้นที่เป็นรูปธรรมมากที่สุดโดยการให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์โดยตรงจากของจริง สถานการณ์จริง หรือด้วยการกระทำของตนเอง เช่น การจับต้องและเห็น เป็นต้น
ประสบการณ์รอง
- เป็นการเรียนรู้โดยการให้ผู้เรียนเรียนจากสิ่งที่ใกล้เคียงความเป็นจริงที่สุด ซึ้งอาจจะเป็นของจำลองหรือสถานการณ์จำลอง
ประสบการณ์นาฏการหรือการแสดง
- เป็นบทบาทสมมุติหรือการแสดงละครเป็นการจัดประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน
การสาธิต
- เป็นการแสดงหรือเป็นการกระทำประกอบคำอธิบายเพื่อให้เห็นลำดับขั้นตอนของการกระทำนั้น
การศึกษานอกสถานที่
- เป็นการให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ต่างๆ หรือการสัมภาษณ์เหล่านั้นเป็นต้น
นิทรรศการ
- เป็นการจัดแสดงสิ่งของต่างๆ การจัดป้ายนิเทศการเพื่อให้สาระประโยชน์และความรู้แก่ผู้ชม
โทรทัศน์
- โดยใช้ทั้งโทรทัศน์เพื่อการศึกษา และโทรทัศน์เพื่อการเรียนการสอน เพื่อให้ข้อมูลความรู้แก่ผู้เรียน หรือผู้ชม หรืออยู่ในห้องเรียนหรืออยู่ทางบ้านและใช้สอนได้ทั้งวงจรปิดวงจรเปิด
ภาพยนต์
- เป็นภาพเคลื่อนไหวที่บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ทั้งภาพและเสียง
การบันทึกเสียง วิทยุ ภาพนิ่ง
- เป็นได้ทั้งรูปของแผ่นเสียงหรือเทปบันทึก
ทัศนสัญลักษณ์
- เช่น แผนที่ แผนสตถิติ หรือเครื่องหมายต่างๆ
วัจนสัญลักษณ์
- เป็นประสบการณ์ขั้นที่เป็นนามธรรมมากที่สุด ได้แก่ ตัวหนังสือในภาพเขียนและเสียงของคำพูดในภาษาพูด
ตามแนวคิดของบรูเนอร์ (Jerome s.Bruner)
- กลุ่มการกระทำ
- กลุ่มภาพ
- กลุ่มนามธรรม
แนวคิดของสมาคมเทคโนโลยี่และสื่อการศึกษาอเมริกา
- สื่อการณ์สอนประเภทวัสดุ
- สื่อการณ์สอนประเภทอุปกรณ์
- สื่อการสอนประเภทเทคนิค วิธีการ
การแบ่งประเภทของสื่อ
-ตามระดับประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้เรียนที่ได้รับจากสื่อ
แนวคิดของโฮบาน และคณะ
- ประสบการณืตรง
- ประสบการณ์รอง
- ประสบการณ์นาฏการหรือการแสดง
ประสบการณ์ตรง
- เป็นประสบการณ์ขั้นที่เป็นรูปธรรมมากที่สุดโดยการให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์โดยตรงจากของจริง สถานการณ์จริง หรือด้วยการกระทำของตนเอง เช่น การจับต้องและเห็น เป็นต้น
ประสบการณ์รอง
- เป็นการเรียนรู้โดยการให้ผู้เรียนเรียนจากสิ่งที่ใกล้เคียงความเป็นจริงที่สุด ซึ้งอาจจะเป็นของจำลองหรือสถานการณ์จำลอง
ประสบการณ์นาฏการหรือการแสดง
- เป็นบทบาทสมมุติหรือการแสดงละครเป็นการจัดประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน
การสาธิต
- เป็นการแสดงหรือเป็นการกระทำประกอบคำอธิบายเพื่อให้เห็นลำดับขั้นตอนของการกระทำนั้น
การศึกษานอกสถานที่
- เป็นการให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ต่างๆ หรือการสัมภาษณ์เหล่านั้นเป็นต้น
นิทรรศการ
- เป็นการจัดแสดงสิ่งของต่างๆ การจัดป้ายนิเทศการเพื่อให้สาระประโยชน์และความรู้แก่ผู้ชม
โทรทัศน์
- โดยใช้ทั้งโทรทัศน์เพื่อการศึกษา และโทรทัศน์เพื่อการเรียนการสอน เพื่อให้ข้อมูลความรู้แก่ผู้เรียน หรือผู้ชม หรืออยู่ในห้องเรียนหรืออยู่ทางบ้านและใช้สอนได้ทั้งวงจรปิดวงจรเปิด
ภาพยนต์
- เป็นภาพเคลื่อนไหวที่บันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ทั้งภาพและเสียง
การบันทึกเสียง วิทยุ ภาพนิ่ง
- เป็นได้ทั้งรูปของแผ่นเสียงหรือเทปบันทึก
ทัศนสัญลักษณ์
- เช่น แผนที่ แผนสตถิติ หรือเครื่องหมายต่างๆ
วัจนสัญลักษณ์
- เป็นประสบการณ์ขั้นที่เป็นนามธรรมมากที่สุด ได้แก่ ตัวหนังสือในภาพเขียนและเสียงของคำพูดในภาษาพูด
ตามแนวคิดของบรูเนอร์ (Jerome s.Bruner)
- กลุ่มการกระทำ
- กลุ่มภาพ
- กลุ่มนามธรรม
แนวคิดของสมาคมเทคโนโลยี่และสื่อการศึกษาอเมริกา
- สื่อการณ์สอนประเภทวัสดุ
- สื่อการณ์สอนประเภทอุปกรณ์
- สื่อการสอนประเภทเทคนิค วิธีการ
วันอังคารที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
ครั้งที่ 3 สื่อการศึกษา
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 3 ประจำวัน พฤหัสบดี ที่ 1 กรกฎคม 2553
สื่อการศึกษา
สื่อ หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆที่อาจจะเป็นวัสดุ เครื่องมือ หรือกิจกรรมที่ครูเลือกมา และวางแผนใช้ รวมเข้าไปถึงเนื้อหาของหลังสูตรวิชาต่างๆอย่างเหมาะสมกับความต้องการ ระดับชั้นเรียน สติปัญญา และความสามารถของนักเรียนเพื่อให้กระบวนการเรียนการสอนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
สื่อการเรียนการสอน หมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่รอบตัวเรา เช่น วัสดุ อุปกรณ์ และเทคนิค วิธีการสอน
คุณค่าสื่อการเรียนการสอน
- ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนได้ดีขึ้น
- ช่วยให้สนใจบทเรียนและใช้ประสาทสัมผัสในการรับรู้ได้
- ทำให้เข้าใจเนื้อหาบทเรียนที่ยุ่งยากซับซ้อนได้ง่ายขึ้นในระยะเวลาอันสั้น
และเกิดความคิดรวบยอดในเรื่องนั้นได้ถูกต้อง
- ให้ประสบการณ์รูปธรรมแก้ผู้เรียน และเกิดความประทับใจ จดจำได้นาน
- ช่วยในการศึกษาหาความรู้ สามารถนำประสบการณ์เดิมไปสัมผัสกับสิ่งใหม่ได้ต่อเนื่องกัน
- ส่งเสริมความคิด การแก้ปัญหา และความคิดสร้างสรรค์
- ช่วยสร้างบรรยากาศที่ดีในการเรียนการสอน
- ช่วยลดการบรรยายของครูผู้สอน
หลักการเลือกสื่อการสอน
1.สื่อนั้นต้องสัมพันธ์กัมาตรฐาน การเรียนรู้และผลการเรียนรู้ ที่คาดหวัง
2.เลือกสื่อที่มีเนื้อหา ถูฏต้องทันสมัย น่าสนใจ
3.เป็นสื่อที่เหมาะสมกับวัย ระดับชั้น ความรู้ และประสบการณ์ของผู้เรียน
4.สื่อนั้นควรสะดวกใช้ มีวิธีใช้ที่ไม่ซับซ้อนยุ่งยากจนเกินไป
5.ต้องเป็นสื่อทีมีคุณภาพเทคนิคการผลิตที่ดี มีความชัดเจนเป็นจริง
6.มีราคาไม่แพงจนเกินไป หรือถ้าจะผลิตของควรคุ้มค่ากับเวลาและการลงทุน
ขั้นตอนในการใช้สื่อ
1.ขั้นนำเข้าสู้บทเรียน
2.ขั้นดำเนิดการสอนหรือประกอบกิจกรรมการเรียน
3.ขั้นวิเคราะห์ หรือฝึกปฎิบัติ
4.ขั้นสรุปบทเรียน
5.ขั้นประเมินผลผู้เรียน
หลักการใช้สื่อในการเรียนการสอน
1.เตรียมตัวผู้สอน
2.เตรียมจัดสภาพแวดล้อม
3.เตรียมพร้อมผู้เรียน
4.การใช้สื่อ
5.การติดตามผล
การใช้สื่อ
- ดูหรืออ่านเนื้อหาในสิ่งเหล่านั้นก่อนเป็นการเตรียมตัว
- จัดเตรียมสถานที่ ที่นั่งเรียน อุปกรณ์ เครื่องมือต่างๆ
สื่อการศึกษา
สื่อ หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆที่อาจจะเป็นวัสดุ เครื่องมือ หรือกิจกรรมที่ครูเลือกมา และวางแผนใช้ รวมเข้าไปถึงเนื้อหาของหลังสูตรวิชาต่างๆอย่างเหมาะสมกับความต้องการ ระดับชั้นเรียน สติปัญญา และความสามารถของนักเรียนเพื่อให้กระบวนการเรียนการสอนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
สื่อการเรียนการสอน หมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่รอบตัวเรา เช่น วัสดุ อุปกรณ์ และเทคนิค วิธีการสอน
คุณค่าสื่อการเรียนการสอน
- ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนได้ดีขึ้น
- ช่วยให้สนใจบทเรียนและใช้ประสาทสัมผัสในการรับรู้ได้
- ทำให้เข้าใจเนื้อหาบทเรียนที่ยุ่งยากซับซ้อนได้ง่ายขึ้นในระยะเวลาอันสั้น
และเกิดความคิดรวบยอดในเรื่องนั้นได้ถูกต้อง
- ให้ประสบการณ์รูปธรรมแก้ผู้เรียน และเกิดความประทับใจ จดจำได้นาน
- ช่วยในการศึกษาหาความรู้ สามารถนำประสบการณ์เดิมไปสัมผัสกับสิ่งใหม่ได้ต่อเนื่องกัน
- ส่งเสริมความคิด การแก้ปัญหา และความคิดสร้างสรรค์
- ช่วยสร้างบรรยากาศที่ดีในการเรียนการสอน
- ช่วยลดการบรรยายของครูผู้สอน
หลักการเลือกสื่อการสอน
1.สื่อนั้นต้องสัมพันธ์กัมาตรฐาน การเรียนรู้และผลการเรียนรู้ ที่คาดหวัง
2.เลือกสื่อที่มีเนื้อหา ถูฏต้องทันสมัย น่าสนใจ
3.เป็นสื่อที่เหมาะสมกับวัย ระดับชั้น ความรู้ และประสบการณ์ของผู้เรียน
4.สื่อนั้นควรสะดวกใช้ มีวิธีใช้ที่ไม่ซับซ้อนยุ่งยากจนเกินไป
5.ต้องเป็นสื่อทีมีคุณภาพเทคนิคการผลิตที่ดี มีความชัดเจนเป็นจริง
6.มีราคาไม่แพงจนเกินไป หรือถ้าจะผลิตของควรคุ้มค่ากับเวลาและการลงทุน
ขั้นตอนในการใช้สื่อ
1.ขั้นนำเข้าสู้บทเรียน
2.ขั้นดำเนิดการสอนหรือประกอบกิจกรรมการเรียน
3.ขั้นวิเคราะห์ หรือฝึกปฎิบัติ
4.ขั้นสรุปบทเรียน
5.ขั้นประเมินผลผู้เรียน
หลักการใช้สื่อในการเรียนการสอน
1.เตรียมตัวผู้สอน
2.เตรียมจัดสภาพแวดล้อม
3.เตรียมพร้อมผู้เรียน
4.การใช้สื่อ
5.การติดตามผล
การใช้สื่อ
- ดูหรืออ่านเนื้อหาในสิ่งเหล่านั้นก่อนเป็นการเตรียมตัว
- จัดเตรียมสถานที่ ที่นั่งเรียน อุปกรณ์ เครื่องมือต่างๆ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)